SQL Data Type

| ไอที | SQL | 23547

SQL Data Type

บทความนี้เรามาดูชนิดของข้อมูล ใน SQL กัน
การจะเก็บข้อมูลลงใน Database นั้น ก็จะต้องรู้ว่าชนิดของข้อมูลนั้นเป็นแบบใด มีขนาดเท่าไหร่บ้าง เพื่อที่จะเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เป็นระเบียบ และใช้งาน Database ได้อย่างคุ้มค่า

เราจะใช้ชนิดของข้อมูลเหล่านี้ ในการตัดสินใจ ตอนสร้างตารางข้อมูล ว่า ให้แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลชนิดใด เพราะฉะนั้น ก่อนจะสร้างตารางข้อมููล ต้องรู้ชนิดของข้อมูลที่จะต้องเก็บเสียก่อน

Exact Numeric Data Types

ชนิดข้อมูลตั้งแต่ถึง
bigint-9,223,372,036,854,775,8089,223,372,036,854,775,807
int-2,147,483,6482,147,483,647
smallint-32,76832,767
tinyint0255
bit01
decimal-10^38 +110^38 .1
numeric-10^38 +110^38 .1
money-922,337,203,685,477.5808+922,337,203,685,477.5807
smallmoney-214,748.3648+214,748.3647

Approximate Numeric Data Types

ชนิดข้อมูลตั้งแต่ถึง
float-1.79E + 3081.79E + 308
real-3.40E + 383.40E + 38

Date and Time Data Types

ชนิดข้อมูลตั้งแต่ถึง
datetime
Jan 1, 1753Dec 31, 9999
smalldatetimeJan 1, 1900Jun 6, 2079
dateเก็บข้อมูลเป็นวัน เช่น June 30, 1991
timeเก็บข้อมูลเวลา เช่น 12:30 P.M.

Character Strings Data Types

ชนิดข้อมูลตั้งแต่ถึง
charcharมีขนาดความยาวของตัวอักษรสูงสุด 8,000 ตัวอักษร( ฟิกขนาดไว้เพื่อเก็บข้อมูล)
varcharvarcharมีขนาดสูงสุด 8,000 ตัวอักษร( เก็บขนาดตามข้อมูลจริง ).
varchar(max)varchar(max)เก็บขนาดตัวอักษรสูงสุด 231 ตัวอักษร(SQL Server 2005 only).
texttextขนาดข้อมูลสูงสุด 2,147,483,647 ตัวอักษร

Unicode Character Strings Data Types

ชนิดข้อมูลคำอธิบาย
ncharเก็บขนาดข้อมูลได้สูงสุด 4,000 ตัวอักษร( ฟิกขนาดไว้ )
nvarcharเก็บขนาดข้อมูลได้สูงสุด 4,000 ตัวอักษร( เก็บขนาดตามข้อมูลจริง )
nvarchar(max)เก็บขนาดข้อมูลได้สูงสุด 231 ตัวอักษร(SQL Server 2005 only)
ntextเก็บข้อมูลได้สูงสุด 1,073,741,823 ตัวอักษร

Binary Data Types

ชนิดข้อมูลคำอธิบาย
binaryขนาดสูงสุด 8,000 bytes( ฟิกขนาดไว้ )
varbinaryขนาดสูงสุด 8,000 bytes( เก็บข้อมูลตามจริง )
varbinary(max)ขนาดสูงสุด 231 bytes(SQL Server 2005 only)
imageขนาดสูงสุด 2,147,483,647 bytes

อ้างอิงจาก http://www.tutorialspoint.com/sql/sql-data-types.htm
comments




เว็บเพื่อนบ้าน
DoesystemDevcodeMathMySelfHowToClicksBlogJavaExample