ฟังก์ชันของค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function)

| วิทยาศาสตร์ | คณิตศาสตร์ | 5682
เราได้รู้จักค่าสัมบูรณ์ไปแล้ว ในบทความ ค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value) ในบทความนี้เราจะมารู้จักกับฟังก์ชันของค่าสัมบูรณ์กันครับ (Absolute Value Function)

ฟังก์ชันของค่าสัมบูรณ์เขียนได้เป็น
f(x) = |x|

บางครั้ง เราสามารถเขียนได้เป็น abs(x)

ถ้านำไปพล็อตกราฟจะได้เป็น

จากกราฟของค่าสัมบูรณ์ ฟังก์ชันของค่าสัมบูรณ์เป็นฟังก์ชันคู่ จากกราฟของค่าสัมบูรณ์ ทำให้เห็นว่ามีค่าเป็นจำนวนจริง มีค่าตั้งแต่ [0, +∞) จากกราฟของค่าสัมบูรณ์ ทำให้เห็นว่ามีค่าเป็นจำนวนบวกและมีค่าต่ำสุดเป็น 0 Piecewise Functions เราสามารถเขียน Piecewise Functions ได้เป็น
จากกราฟอธิบายได้ว่า f(x) = |x| จะเท่ากับ x เมื่อ x มากกว่าหรือเท่ากับ 0 ตัวอย่าง |5|=5, |12|=12 f(x) = |x| จะเท่ากับ -x เมื่อ x มีค่าน้อยกว่า 0 ตัวอย่าง |-1|=-(-1)=1, |-22|=-(-22)=22
comments




เว็บเพื่อนบ้าน
DoesystemDevcodeMathMySelfHowToClicksBlogJavaExample